......จันทร์เพ็ญดูเด่นล้ำ.............งามตา แสงส่องโสภามา........................แช่มชื้น เปล่งปลั่งดั่งทองทา..................ยิ้มยั่ว จริงเอย หมายอยากคว้าลงพื้น................ตื่นเต้นจับจันทร์ *******************************************
14 กันยายน 2545 04:16 น. - comment id 76222
เรียนได้ก้าวหน้าไวดีจัง ไอซ์ ( ฝึกๆๆๆ ป้าต้องไปฝึกมั่ง..เดี๋ยวซ้ำชั้นคนเดียว)
14 กันยายน 2545 04:37 น. - comment id 76229
แหมใจคอจะหวงแหนจับจันทร์ไว้ชมเชยพียงคนเดียวเชียว
14 กันยายน 2545 04:43 น. - comment id 76234
ตัวโตเท่าหม้อแกงอีกแย้ว
14 กันยายน 2545 08:33 น. - comment id 76253
ไปจับด้วยๆ
14 กันยายน 2545 10:07 น. - comment id 76273
เค้าจะไปเหยียบจันทร์ดีก่า ลิงตัวแรกที่ได้เหยียบดวงจันทร์อ่ะ ชื่อลิงมังกิ ตัวเองรู้มะ กิกิ
14 กันยายน 2545 14:08 น. - comment id 76333
จับให้ได้นะ...
14 กันยายน 2545 14:16 น. - comment id 76337
เห็นข้อความชัดแจ๋วเลยค๊า ตัวใหญ่ๆ เพราะด้วยค๊าพี่ไอดาโฮ่ เดี๋ยวปลา2จาขอจับมั้ง อย่าตื่นเต้นน๊าพี่ไอดาโฮ่....อิอิ
14 กันยายน 2545 15:32 น. - comment id 76363
ตัวโตเท่าหม้อแกงหยั่งงี้ต้องให้พี่เก๋จับคัดลายมือแย้ว อิอิอิอิ
14 กันยายน 2545 17:25 น. - comment id 76380
อิอิ เพราะค่ะ แต่บ่นหน่อย มีเอกโท ผิดนะ หาดีๆนะคะ แล้วพร่งนี้จะมาดูใหม่
14 กันยายน 2545 18:59 น. - comment id 76397
บรรทัดที่สอง ผิดนะ ตัวสุดท้ายต้องเสียงโท
14 กันยายน 2545 21:20 น. - comment id 76418
ป้าส้มก็ขยันหน่อยนะจ้ะ พรระวีก็มาจับด้วยดิ อิอิ จะได้ชัดๆไงเพ่ เก๋ ได้เลยละอองน้ำ แน่ใจหรอมังกิ เราตะหากจูงมังกิไป จับเกือบได้แล้วหลิน จะจับเผื่อปลา 2 ตามะค่อยดีอะพนาไพร เลยต้องตัวโตๆ เจอแล้วจ้านักเดินทาง ขอบใจนะเจ้า :)
15 กันยายน 2545 04:24 น. - comment id 76475
มาดูข้อนิยมในการเขียนโคลงกัน คำเอก = คำที่ใช้วรรณยุกต์เอก หรือคำตายอย่าง กด นก กบ ฯลฯ คำโท = คำที่ใช้วรรณยุกต์โท ... เท่านั้น การส่งสัมผัสสระ มีสองชุด ... คือ 1) คำที่ ๗ บาทที่ ๑ กับคำที่ ๕ บาท ๒ + คำที่ ๕ บาท ๓ ..สัมผัสในคำกลุ่มนี้ นิยมใช้คำสามัญ2) คือคำที่ไม่มีวรรณยุกต์ 3) คำที่ ๗ บาท ๒ กับคำที่ ๕ บาท ๔ ..... สัมผัสนี้เรียกว่าการผูกคู่โท ... เพราะใช้คำโทส่ง4) - รับสัมผัสกัน คำสร้อย .... คือคำที่อยู่ใน ( ๐ ๐ ) ตามผัง .. จะใช้เมื่อเก็บเนื้อความในแต่ละบาทได้ไม่ครบ และเมื่อถึงคราวใช้ จะใช้คำที่มีความหมายเพียงคำเดียว คำที่สองเป็นคำที่ไม่มีความหมาย เช่น แล นา นอ พ่อ แม่ ฤๅ ฯลฯ ถ้าใช้คำที่มีความหมายทั้งสองคำ จะเรียกว่า สร้อยเจตนัง ไม่นิยมเพราะถือว่ากวีไม่สามารถเก็บเนื้อความได้หมดจรดภายใน ๗ คำของบาท บรรทัดที่สอง ผิดนะ ตัวสุดท้ายต้องเสียงโท อาจจะคนละตำรากันครับ.......
15 กันยายน 2545 16:00 น. - comment id 76569
นั่นแล อย่างข้างบน
16 กันยายน 2545 07:46 น. - comment id 76821
ขอบคุณครั้งที่ 7 ค่า ผู้ไร้นาม ......................... คอยดูเจ้าลมอีกไม่เทาไหร่เราจะท้าประลอง
18 กันยายน 2545 11:54 น. - comment id 77451
แค่นี้ก็สุดยอดแล้วidaho เก่งๆๆๆๆๆๆๆๆ ยกนิ้วให้ เยี่ยมยอดดดดดดดดดดดด อิอิอิ